Halloween is a holiday celebrated on the night of October 31. Traditional activities include trick-or-treating, bonfires, costume parties, visiting "haunted houses" and carving jack-o-lanterns. Irish and Scottish immigrants carried versions of the tradition to North America in the nineteenth century. Other western countries embraced the holiday in the late twentieth century including Ireland, the United States, Canada, Puerto Rico and the United Kingdom as well as of Australia and New Zealand.
Halloween has its origins in the ancient Celtic festival known as Samhain (pronounced "sah-win").
The festival of Samhain is a celebration of the end of the harvest season in Gaelic culture. Samhain was a time used by the ancient pagans to take stock of supplies and prepare for winter. The ancient Gaels believed that on October 31, the boundaries between the worlds of the living and the dead overlapped and the deceased would come back to life and cause havoc such as sickness or damaged crops.
The festival would frequently involve bonfires. It is believed that the fires attracted insects to the area which attracted bats to the area. These are additional attributes of the history of Halloween.
Masks and consumes were worn in an attempt to mimic the evil spirits or appease them.
วันอังคารที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2555
ใช้มือถือนาน เสี่ยงโรคเสียงดังในหู
ใช้มือถือนานเสี่ยงโรคเสียงดังในหู (Lisa)
วางมือถือลงสักนิดถ้าไม่อยากให้หูมีปัญหา
โดยวารสาร Occupational and Environment Medicine เผยแพร่งานวิจัยจากแดนจิงโจ้พบว่า คนที่ใช้โทรศัพท์มากกว่าปริมาณเฉลี่ย 10 นาทีต่อวัน จะมีโอกาสเป็นโรคเสียงดังในหู (Tinnitus) มากกว่าคนทั่วไปถึง 70%
อย่างไรก็ตาม สมาคม British Tinnitus Association ชี้ว่า ความเชื่อมโยงระหว่างโรคดังกล่าวกับโทรศัพท์มือถือยังไม่แน่ชัดนัก อาจเป็นเพราะกระดูกคอเคลียได้รับคลื่นที่มือถือปล่อยออกมา หรือเพราะการเดินไปคุยไป จะส่งผลกระทบต่อการไหลเวียนของเลือดในศีรษะบริเวณดังกล่าวก็ได้ จึงต้องมีการศึกษาต่อไป
แต่เนื่องจากในปัจจุบัน เราใช้มือถือกันมาก ถ้าความเสี่ยงนั้นเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ก็อาจหมายถึงความเจ็บป่วยของคนนับล้านก็ได้นะ
วางมือถือลงสักนิดถ้าไม่อยากให้หูมีปัญหา
โดยวารสาร Occupational and Environment Medicine เผยแพร่งานวิจัยจากแดนจิงโจ้พบว่า คนที่ใช้โทรศัพท์มากกว่าปริมาณเฉลี่ย 10 นาทีต่อวัน จะมีโอกาสเป็นโรคเสียงดังในหู (Tinnitus) มากกว่าคนทั่วไปถึง 70%
อย่างไรก็ตาม สมาคม British Tinnitus Association ชี้ว่า ความเชื่อมโยงระหว่างโรคดังกล่าวกับโทรศัพท์มือถือยังไม่แน่ชัดนัก อาจเป็นเพราะกระดูกคอเคลียได้รับคลื่นที่มือถือปล่อยออกมา หรือเพราะการเดินไปคุยไป จะส่งผลกระทบต่อการไหลเวียนของเลือดในศีรษะบริเวณดังกล่าวก็ได้ จึงต้องมีการศึกษาต่อไป
แต่เนื่องจากในปัจจุบัน เราใช้มือถือกันมาก ถ้าความเสี่ยงนั้นเพิ่มขึ้นเล็กน้อย ก็อาจหมายถึงความเจ็บป่วยของคนนับล้านก็ได้นะ
วันศุกร์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2555
15 โรคที่มากับฝน
กระทรวงสาธารณสุขแนะนำโรค 15 ชนิดที่มักจะมากับหน้าฝน พร้อมสั่งการให้สาธารณสุขจังหวัดและโรงพยาบาล จับตาโรคดังกล่าวงระหว่างเดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม
กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่าโรคที่มักมาพร้อมฤดูฝนที่พบบ่อยมี 5 กลุ่ม รวม 15 โรค ได้แก่ 1.กลุ่มโรคติดต่อทางน้ำและอาหาร ที่พบบ่อย มี 5 โรค ได้แก่ โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน บิด ไทฟอยด์ อาหารเป็นพิษ และตับอักเสบ สาเหตุเกิดจากกินอาหาร ดื่มน้ำที่มีเชื้อโรคปนเปื้อน หรือกินสุกๆ ดิบๆ
2.กลุ่มโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ที่พบบ่อย 5 โรค ได้แก่ โรคหวัด ไข้หวัดใหญ่ คออักเสบ หลอดลมอักเสบ และโรคปอดบวม โดยเฉพาะโรคปอดบวม มีอันตรายอาจถึงชีวิตได้ อาการเริ่มจากไข้ ไอ หายใจเร็วหรือหอบเหนื่อย
3.กลุ่มโรคติดเชื้อผ่านทางบาดแผลหรือเยื่อบุผิวหนัง ที่พบบ่อยคือโรคเลปโตสไปโรซิสหรือโรคไข้ฉี่หนู อาการเด่นของโรคนี้คือ ไข้สูงเฉียบพลัน ปวดศีรษะมักปวดกล้ามเนื้อบริเวณน่องและโคนขาอย่างรุนแรง และตาแดง
4.กลุ่มโรคติดต่อที่เกิดจากยุง ที่สำคัญ 3 โรค ได้แก่ ไข้เลือดออกมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งกว่าร้อยละ 80 เป็นยุงลายที่อยู่ในบ้าน ไข้สมองอักเสบ เจ อี (ตัวนำโรคมาจากยุงรำคาญ ซึ่งมักแพร่พันธุ์ตามแหล่งน้ำในทุ่งนา และโรคมาลาเรีย ซึ่งมียุงก้นปล่องที่อยู่ในป่าเป็นพาหะนำโรค ทั้ง 3 โรคนี้ อาการเริ่มจากมีไข้สูงปวดศีรษะมาก คลื่นไส้อาเจียน โดยเฉพาะโรคไข้สมองอักเสบ อาจทำให้พิการภายหลังได้
5.กลุ่มโรคเยื่อบุตาอักเสบหรือโรคตาแดง เกิดจากเชื้อไวรัสที่อยู่ในน้ำสกปรก กระเด็นเข้าตา
นอกจากนี้ ยังมีโรคอื่นๆ ที่พบได้ในฤดูฝนทุกปี ได้แก่ โรคน้ำกัดเท้าจากเชื้อรา เกิดจากการเดินลุยน้ำสกปรกนานๆ หรือเดินลุยน้ำท่วมขังในช่วงที่มีฝนตกนัก การถูกสัตว์มีพิษกัด ต่อย เช่น งู ตะขาบ แมงป่องที่หนีน้ำท่วมมาอาศัยในบ้านเรือน และโรคอาหารเป็นพิษจากกินเห็ดพิษที่ขึ้นเองตามธรรมชาติในป่า
ทั้งนี้จากการเฝ้าระวังของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ในช่วงฤดูฝนในปี 2554 ตั้งแต่เดือนมิถุนายน -กันยายน พบผู้ป่วยจาก 15 โรคฤดูฝน 658,429 คน มากที่สุดคือโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 397,703 คน รองลงมาคือโรคปอดบวม 63,945 คน และไข้หวัดใหญ่ 32,950 คน เสียชีวิตรวม 551 คน
และจากการเฝ้าระวังของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ในช่วงฤดูฝนในปี 2554 ตั้งแต่เดือนมิถุนายน-กันยายน พบผู้ป่วยจาก 15 โรคฤดูฝน 658,429 คน โดยโรคที่บมากที่สุดคือโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 397,703 คน รองลงมาคือโรคปอดบวม 63,945 คน และไข้หวัดใหญ่ 32,950 คน เสียชีวิตรวม 551 คน โดยในจำนวนผู้เสียชีวิต มากที่สุดอันดับ 1 มาจากโรคปอดบวม 401 คน โรคฉี่หนู 74 คน ไข้เลือดออก 40 คน และอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 21 คน
กระทรวงสาธารณสุข จึงสั่งการให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลทุกแห่ง จับตาโรคต่าง ๆ เป็นพิเศษเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2555 ขอให้แพทย์ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโดยละเอียด โดยโรคที่ต้องติดตามต่อเนื่องคือโรคไข้หวัดนก ที่ไทยไม่พบผู้ป่วยมาเป็นเวลาเกือบ 6 ปี
2.กลุ่มโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ที่พบบ่อย 5 โรค ได้แก่ โรคหวัด ไข้หวัดใหญ่ คออักเสบ หลอดลมอักเสบ และโรคปอดบวม โดยเฉพาะโรคปอดบวม มีอันตรายอาจถึงชีวิตได้ อาการเริ่มจากไข้ ไอ หายใจเร็วหรือหอบเหนื่อย
3.กลุ่มโรคติดเชื้อผ่านทางบาดแผลหรือเยื่อบุผิวหนัง ที่พบบ่อยคือโรคเลปโตสไปโรซิสหรือโรคไข้ฉี่หนู อาการเด่นของโรคนี้คือ ไข้สูงเฉียบพลัน ปวดศีรษะมักปวดกล้ามเนื้อบริเวณน่องและโคนขาอย่างรุนแรง และตาแดง
4.กลุ่มโรคติดต่อที่เกิดจากยุง ที่สำคัญ 3 โรค ได้แก่ ไข้เลือดออกมียุงลายเป็นพาหะนำโรค ซึ่งกว่าร้อยละ 80 เป็นยุงลายที่อยู่ในบ้าน ไข้สมองอักเสบ เจ อี (ตัวนำโรคมาจากยุงรำคาญ ซึ่งมักแพร่พันธุ์ตามแหล่งน้ำในทุ่งนา และโรคมาลาเรีย ซึ่งมียุงก้นปล่องที่อยู่ในป่าเป็นพาหะนำโรค ทั้ง 3 โรคนี้ อาการเริ่มจากมีไข้สูงปวดศีรษะมาก คลื่นไส้อาเจียน โดยเฉพาะโรคไข้สมองอักเสบ อาจทำให้พิการภายหลังได้
5.กลุ่มโรคเยื่อบุตาอักเสบหรือโรคตาแดง เกิดจากเชื้อไวรัสที่อยู่ในน้ำสกปรก กระเด็นเข้าตา
นอกจากนี้ ยังมีโรคอื่นๆ ที่พบได้ในฤดูฝนทุกปี ได้แก่ โรคน้ำกัดเท้าจากเชื้อรา เกิดจากการเดินลุยน้ำสกปรกนานๆ หรือเดินลุยน้ำท่วมขังในช่วงที่มีฝนตกนัก การถูกสัตว์มีพิษกัด ต่อย เช่น งู ตะขาบ แมงป่องที่หนีน้ำท่วมมาอาศัยในบ้านเรือน และโรคอาหารเป็นพิษจากกินเห็ดพิษที่ขึ้นเองตามธรรมชาติในป่า
ทั้งนี้จากการเฝ้าระวังของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ในช่วงฤดูฝนในปี 2554 ตั้งแต่เดือนมิถุนายน -กันยายน พบผู้ป่วยจาก 15 โรคฤดูฝน 658,429 คน มากที่สุดคือโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 397,703 คน รองลงมาคือโรคปอดบวม 63,945 คน และไข้หวัดใหญ่ 32,950 คน เสียชีวิตรวม 551 คน
และจากการเฝ้าระวังของสำนักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ในช่วงฤดูฝนในปี 2554 ตั้งแต่เดือนมิถุนายน-กันยายน พบผู้ป่วยจาก 15 โรคฤดูฝน 658,429 คน โดยโรคที่บมากที่สุดคือโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 397,703 คน รองลงมาคือโรคปอดบวม 63,945 คน และไข้หวัดใหญ่ 32,950 คน เสียชีวิตรวม 551 คน โดยในจำนวนผู้เสียชีวิต มากที่สุดอันดับ 1 มาจากโรคปอดบวม 401 คน โรคฉี่หนู 74 คน ไข้เลือดออก 40 คน และอุจจาระร่วงเฉียบพลัน 21 คน
กระทรวงสาธารณสุข จึงสั่งการให้สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลทุกแห่ง จับตาโรคต่าง ๆ เป็นพิเศษเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2555 ขอให้แพทย์ตรวจคัดกรองผู้ป่วยโดยละเอียด โดยโรคที่ต้องติดตามต่อเนื่องคือโรคไข้หวัดนก ที่ไทยไม่พบผู้ป่วยมาเป็นเวลาเกือบ 6 ปี
สิงคโปร์ ประเทศที่คนอ่านหนังสือปีละ 40-50 เล่มต่อคน
"การอ่าน..เป็นนิสัยที่ดีที่สุดในการบ่มเพาะสติปัญญา แม้ในโลกปัจจุบันผู้คนนิยมใช้อินเตอร์เน็ตมากขึ้น แต่ก็ยังมีกลุ่มคนรักการอ่านหนังสือผุดขึ้นมากมายทั่วโลก อย่างโครงการ "หนึ่งเล่มหนึ่งเมือง" ของสหรัฐอเมริกาขณะที่เรามีโครงการ"มาอ่านหนังสือกันเถอะ!สิงคโปร์" ซึ่งโครงการนี้ถือได้ว่าประสบความสำเร็จอย่างมาก เพราะสามารถดึงกลุ่มเป้าหมายจากหลากหลายอาชีพมาจัดตั้งชมรมการอ่านเฉพาะกลุ่มขึ้น เช่น กลุ่มคนขับรถแท็กซี่ ครู ช่างทำผม เจ้าหน้าที่ดูแลสุขภาพ พนักงานโรงแรมและบริการ กลุ่มผู้สูงอายุ เยาวชน ประชาชนทั่วไป หัวหน้าองค์กรรากหญ้า รวมถึงเจ้าหน้าที่พลเรือน และกลุ่มผู้ด้อยโอกาส ปัจจุบันมีชมรมการอ่านเฉพาะกลุ่มขึ้นมากกว่า 90 แห่ง
เราดีใจที่เห็นคนทุกกลุ่มหันมาสนใจการอ่าน และพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน หลังจากที่พูดคุยกันเสร็จก็มีการไปอ่านหนังสือเล่มเดิมซ้ำอีก เพราะประเด็นที่พูดคุยกันมีหลากหลาย น่าสนใจ ทำให้เราสนใจและกลับไปอ่านหนังสือเล่มนั้นเพิ่มเติม ที่สำคัญคือ เราเห็นว่าคนที่มาทำกิจกรรมร่วมกันมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน นอกจากจะส่งเสริมการอ่านแล้ว ยังเป็นการสร้างความสามัคคีของคนในชาติ ส่งเสริมความสัมพันธ์ของคนแต่ละกลุ่ม แต่ละชุมชนอีกด้วย " นาง เกียง-โก๊ะ ไล ลิน กล่าว
ผู้อำนวยการโครงการริเริ่มด้านการอ่าน ย้ำว่า การส่งเสริมให้ประชาชนทุกวัยทุกอาชีพหันมาสนใจการอ่านหนังสือ ไม่ใช่แค่การให้ประชาชนมาอ่านหนังสือแล้วจบไป แต่เมื่ออ่านหนังสือเสร็จแล้ว ยังมีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นที่หลากหลายจากหนังสือที่อ่านเรื่องเดียวกัน ทั้งนี้ เพื่อมุ่งพัฒนาให้คนสิงคโปร์มีทักษะการคิดแบบวิพากษ์วิจารณ์ มีความคิดสร้างสรรค์ และกล้าแสดงออก ถือเป็นการสร้างวัฒนธรรมการอ่านขึ้นในชุมชนทั่วประเทศ
วันมหิดล 24 กันยายน
ความหมาย
24 กันยายน วันมหิดล เป็น วันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระราชชนกที่ทรงมีคุณูปการต่อการแพทย์สมัยใหม่ของไทย
ความเป็นมา
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทราบรมราชเทวี พระพันวสาอัยยิกาเจ้า พระราชสมภพ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2434 และเสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2472 มีพระนามเดิมว่าสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช ในเบื้องต้น ได้ทรงศึกษาวิชาทหารเรือ ณ ประเทศเยอรมนี จากนั้นเสด็จกลับมารับราชการทหารเรือ ต่อมาทรงมีอาการประชวรเรื้อรัง ไม่สามารถรับราชการหนักได้ ประกอบกับทรงสนพระทัยในกิจการทางด้านการแพทย์ จึงทรงอุตสาหะเสด็จไปศึกษาวิชาการสาธารณสุข และวิชาแพทย์ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ทรงสอบได้ประกาศนียบัตรการสาธารณสุข และปริญญาแพทย์ศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตเกียรตินิยม จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด หลังจากเสด็จกลับมาเมืองไทย พระองค์ได้ทรงประกอบพระกรณียกิจทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างมากมาย
ด้วยความรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ผู้ที่เคยได้รับพระกรุณาในด้านต่างๆ จากพระองค์ จึงได้รวบรวมเงินจัดสร้างพระรูปประดิษฐานไว้ ณ โรงพยาบาลศิริราช โดยมอบให้กรมศิลปากรเป็นผู้ดำเนินการสร้างมีศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เป็นผู้ควบคุม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินทรงกระทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2493 และในวันที่ 24 กันยายนปีเดียวกันนี้เอง นักศึกษาแพทย์ได้ริเริ่มจัดงานขึ้นเป็นครั้งแรก เนื่องในวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ โดยมีพิธีวางพวงมาลา ถวายบังคมพระรูป อ่านคำสดุดีพระเกียรติเพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ และทางคณะแพทย์ศาสตร์ และศิริราชพยาบาล ได้มีความเห็นพร้อมต้องกันว่าให้ยึดถือเอาวันที่ 24 กันยายนของทุกปี เป็นวันที่น้อมรำลึกถึงพระองค์โดยให้ชื่อว่า วันมหิดล และงานวันมหิดลได้จัดขึ้นอย่างเป็นทางการครั้งแรก ในวันที่ 24 กันยายน 2494 โดยจัดให้มีพิธีสงฆ์ ทำบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารเช้า และการนำพวงมาลาไปสักการะที่พระรูป
ความเป็นมา
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เป็นพระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระศรีสวรินทราบรมราชเทวี พระพันวสาอัยยิกาเจ้า พระราชสมภพ เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2434 และเสด็จสวรรคต เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2472 มีพระนามเดิมว่าสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดลอดุลยเดช ในเบื้องต้น ได้ทรงศึกษาวิชาทหารเรือ ณ ประเทศเยอรมนี จากนั้นเสด็จกลับมารับราชการทหารเรือ ต่อมาทรงมีอาการประชวรเรื้อรัง ไม่สามารถรับราชการหนักได้ ประกอบกับทรงสนพระทัยในกิจการทางด้านการแพทย์ จึงทรงอุตสาหะเสด็จไปศึกษาวิชาการสาธารณสุข และวิชาแพทย์ ณ ประเทศสหรัฐอเมริกา ทรงสอบได้ประกาศนียบัตรการสาธารณสุข และปริญญาแพทย์ศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตเกียรตินิยม จากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด หลังจากเสด็จกลับมาเมืองไทย พระองค์ได้ทรงประกอบพระกรณียกิจทางด้านการแพทย์และสาธารณสุขอย่างมากมาย
ด้วยความรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ ผู้ที่เคยได้รับพระกรุณาในด้านต่างๆ จากพระองค์ จึงได้รวบรวมเงินจัดสร้างพระรูปประดิษฐานไว้ ณ โรงพยาบาลศิริราช โดยมอบให้กรมศิลปากรเป็นผู้ดำเนินการสร้างมีศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เป็นผู้ควบคุม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพระราชดำเนินทรงกระทำพิธีเปิดเมื่อวันที่ 27 เมษายน 2493 และในวันที่ 24 กันยายนปีเดียวกันนี้เอง นักศึกษาแพทย์ได้ริเริ่มจัดงานขึ้นเป็นครั้งแรก เนื่องในวันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ โดยมีพิธีวางพวงมาลา ถวายบังคมพระรูป อ่านคำสดุดีพระเกียรติเพื่อน้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ และทางคณะแพทย์ศาสตร์ และศิริราชพยาบาล ได้มีความเห็นพร้อมต้องกันว่าให้ยึดถือเอาวันที่ 24 กันยายนของทุกปี เป็นวันที่น้อมรำลึกถึงพระองค์โดยให้ชื่อว่า วันมหิดล และงานวันมหิดลได้จัดขึ้นอย่างเป็นทางการครั้งแรก ในวันที่ 24 กันยายน 2494 โดยจัดให้มีพิธีสงฆ์ ทำบุญตักบาตร ถวายภัตตาหารเช้า และการนำพวงมาลาไปสักการะที่พระรูป
วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ฆ่าเชื้อโรค ด้วยเปลือกเลมอน (Lemon) มะนาวสีเหลือง
เลมอน (Lemon) เป็นมะนาวลูกใหญ่เปลือกหนาสีเหลือง ที่มีราคาค่อนข้างแพง เมื่อบีบน้ำมะนาวออกหมดแล้ว ยังนำเปลือกมาใช้ทำส่วนผสม ไว้ฉีดทำความสะอาด ฆ่าเชื้อโรคจำพวกแบคทีเรีย บริเวณโซฟา ผ้าม่าน พื้นพรมได้ด้วย วิธีการ คือ 1. ฝานเปลือกเลมอน 1 ผล แล้วนำไปตากแห้ง 1 วัน 2. นำขวดแก้วสะอาดมา 1 ใบ ใส่น้ำส้มสายชู (ที่ทำจากข้าว) 500 มิลลิลิตร (ครึ่งลิตร) และเปลือกมะนาวจากข้อ1. ลงไปในขวดแก้ว 3. ปิดฝาขวด เขย่าให้เข้ากัน แล้วนำไปตากแดด 10-14 วัน 4. เทใส่ในกระบอกฉีดน้ำแบบหัวสเปรย์ เพื่อใช้ฉีดบริเวณที่ต้องการทำความสะอาด สูตรนี้นอกจากช่วยป้องกันแบคทีเรียแล้ว ส่วนผสมยังดีต่อสุขภาพ และมีกลิ่นหอมสดชื่นจากเปลือกเลมอนอีกด้วย |
5 วิธีเลือกที่นั่งต้านกระดูกเสื่อม
เมื่อมีอายุมากขึ้นทุกคนอาจเป็นโรคกระดูกเสื่อมได้ตามธรรมชาติ แต่สำหรับผู้ที่ ต้องนั่งอยู่บนเก้าอี้หลังโต๊ะทำงาน หรือนั่งอยู่บนเก้าอี้หน้าจอคอมพิวเตอร์ตลอดทั้งวัน โรคนี้อาจมาเยือนได้เร็วกว่าบุคคลอื่น ซึ่งวิธีการป้องกันหรือชะลอภาวะกระดูกเสื่อม แบบง่ายๆ นั้น ทำได้โดยการเลือกที่นั่งให้เหมาะสม 5 วิธี ดังนี้ 1. ความสูงของเก้าอี้ ต้องเท่ากับช่วงยาวของขาท่อนล่าง (น่อง) ตั้งแต่ข้อพับ หลังหัวเข่าลงไปถึงเท้า เพื่อจะได้วางเท้าราบพื้นพอดี 2. รูปร่างของเบาะนั่ง ต้องไม่บุ๋มเป็นแอ่ง มิเช่นนั้นจะทำให้กระดูเชิงกราน (ซึ่งเป็นฐานของกระดูกสันหลังทั้งหมด) บิดงอ 3. เบาะไม่ควรอยู่ลึกเกินไป และพนักพิงไม่ควรอยู่ไกลเกินไป หากพิงไม่ถึง และต้องเอนตัวไปด้านหลัง จะทำให้หลังงอ 4. ควรมีพนักพิง เพื่อช่วยดันหลังให้อยู่ในท่าตรงตามธรรมชาติ 5. ที่เท้าแขนอยู่ในระดับที่งอข้อศอกแล้ววางแขนได้พอดี เพราะนอกจากใช้พักแขน และข้อศอกแล้วยังใช้สำหรับดันเพื่อยืดตัวให้ตรงขึ้นได้ เล็กน้อยเพียงเท่านี้คงไม่ยากเกินไปที่จะใส่ใจ กับสิ่งของที่เราต้องใช้บ่อยๆ ในชีวิตประจำวัน เพื่อสุขภาพที่ดีในระยะยาว |
วันพฤหัสบดีที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2555
Postage stamp
A postage
stamp is a small piece of
paper that is purchased and displayed on an item of mail as evidence
of payment of postage. Typically, stamps are made from special paper,
with a national designation and denomination (price) on the face, and a gum
adhesive on the reverse side. Postage stamps are purchased from apostal
administration or
other authorized vendor and are used to pay for the costs involved in moving
mail as well as other business necessities such as insurance and registration.
The stamp’s shape is
usually that of a small rectangle of varying proportions, though triangles or
other shapes are occasionally used. The stamp is affixed to anenvelope or
other postal cover (i.e., packet, box, mailing cylinder) that the customer
wishes to send. The item is then processed by the postal system, where apostmark, sometimes known as a cancellation mark, is usually
applied over the stamp and cover; this procedure marks the stamp as used, which
prevents its reuse. The postmark indicates the date and point of origin of the
mailing. The mailed item is then delivered to the address that the customer has
applied to the envelope or cover.
Postage stamps have
facilitated the delivery of mail since the 1840s. Before this time, ink and
hand-stamps (hence the word 'stamp'), usually made from wood or cork, were
often used to frank the mail and confirm the payment of postage. The first
adhesive postage stamp, commonly referred to as the Penny Black, was issued in the United
Kingdom in 1840. The invention of the stamp was a part of the attempt to reform
and improve the postal system in the United Kingdom of Great Britain and Ireland, which in the
early 19th century was in disarray and rife with corruption. There are varying accounts of the
inventor or inventors of the stamp.
Before the
introduction of postage stamps, mail in the UK was paid for by the recipient, a
system that was associated with an irresolvable problem: the costs of
delivering mail were not recoverable by the postal service when recipients were
unable or unwilling to pay for delivered items, and senders had no incentive to
restrict the number, size, or weight of items sent, whether or not they would
ultimately be paid for.[4] The
postage stamp resolved this issue in a simple and elegant manner, with the
additional benefit of room for an element of beauty to be introduced. Later
related inventions include postal stationery such as prepaid-postage envelopes, post cards, lettercards, aerogrammes and wrappers, postage meters, and, more recently,
specialty boxes and envelopes provided free to the customer by the U.S. postal
service for priority or express mailing.
The postage stamp
afforded convenience for both the mailer and postal officials, more efficiently
recovered costs for the postal service, and ultimately resulted in a better,
faster postal system. With the conveniences stamps offered, their use resulted
in greatly increased mailings during the 19th and 20th centuries.Postage stamps
during this era were the most popular way of paying for mail, but by the end of
the 20th century were rapidly being eclipsed by the use of metered postage and
bulk mailing by businesses. The same result with respect to communications by
private parties occurred over the last decade of the 20th century and the first
decade of the 21st due to declining cost of long distance telephone
communications and the development and explosive spread of electronic mailing
("e-mail" via the Internet) and bill paying systems had.
As postage stamps with
their engraved imagery began to appear on a widespread basis, historians and
collectors began to take notice.The study of postage stamps and their use is
referred to as philately.Stamp collecting can be both a hobby and a form
of historical study and reference, as government-issued postage stamps and
their mailing systems have always been involved with the history of nations.
State Railway of Thailand
SRT was founded as the Royal State Railways of Siam (RSR) in 1890. Construction of the Bangkok-Ayutthaya railway (71 km), the first part of the Northern Line, was started in 1891 and completed on May 23, 1892. The Thonburi-Phetchaburi line (150 km), later the Southern Line, was opened on June 19, 1903.
The Northern Line was originally built as standard gauge, but in September 1919 it was decided to standardize on meter gauge and the Northern Line was regauged during the next ten years. On July 1, 1951, RSR changed its name to the present State Railway of Thailand.
In 2005 SRT had 4,070 km of track, all of it meter gauge. Nearly all is single-track, although some important sections around Bangkok are double or triple-tracked and there are plans to extend this.
วันเสาร์ที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2555
เงาะ โรงเรียนหรือเงาะพันธุ์โรงเรียน เป็นเงาะพันธุ์ที่ดีที่สุดเท่าที่มีอยู่ในประเทศไทยในปัจจุบัน เงาะในประเทศเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซีย สิงคโปร์ อินโดนีเซีย ตลอดทั้งเกาะต่าง ๆ ในหมู่เกาะอินเดียตะวันออก ก็ไม่มีประเทศใดที่มีเงาะคุณภาพดีเท่ากับเงาะพันธุ์โรงเรียน แม้แต่ในมาเลเซียซึ่งเราได้เมล็ดเงาะพันธุ์นี้มา จึงกล่าวได้ว่าเงาะพันธุ์โรงเรียนเป็นเงาะพันธุ์ที่ดีที่สุดในโลกเท่าที่มี อยู่ในขณะนี้
คำว่า "โรงเรียน" หมายถึง โรงเรียนนาสาร อำเภอบ้านนาสาร จังหวัดสุราษฎร์ธานี
เงาะ ต้นแม่พันธุ์มีเพียงต้นเดียว ปลูกด้วยเมล็ดเมื่อปี พ.ศ.2469 โดยชาวจีนผู้หนึ่งมีสัญชาติมาเลเซีย ชื่อ Mr. K. Wong มีภูมิลำเนาเดิมอยู่ที่เมืองปีนัง บุคคลผู้นี้ได้เข้ามาทำเหมืองแร่ดีบุกที่หมู่บ้านเหมืองแกะ ตำบลนาสาร อำเภอบ้านนาสาร ตรงกันข้ามกับโรงเรียนนาสาร เมื่อ Mr. K. Wong มาทำเหมืองแร่ก็ซื้อที่ดินริมทางรถไฟด้านทิศตะวันตก ใกล้กับสถานีรถไฟนาสารเป็นเนื้อที่ 18 ไร่ แล้วสร้างบ้านพักบนที่ดินดังกล่าว เมื่อสร้างบ้านเสร็จ Mr. K. Wong ก็นำพันธุ์(เมล็ด)เงาะมาจากเมืองปีนัง(ขณะนี้เงาะพันธุ์นี้ที่เมืองปีนึงไม่ มีแล้ว) มาปลูกข้างบ้านพักจำนวน 4 ต้น ต่อมาปรากฏว่าเงาะมีลูกเป็นสีเหลืองบ้าง แดงบ้าง รสเปรี้ยวบ้าง หวานบ้าง เฉพาะต้นที่ 2 นับจากทิศตะวันออกมีลักษณะพิเศษกว่าต้นอื่น คือ เนื้อสุกแล้วเปลือกผลเป็นสีแดง แต่แม้สุกจัดเท่าไหร่ก็ตาม ขนที่ผลยังมีสีเขียวอยู่ รูปผลค่อนข้างกลม เนื้อกรอบ หวาน หอม เปลือกบาง เงาะต้นนี้คือ "เงาะพันธุ์โรงเรียน"
สาเหตุที่เรียกว่าเงาะพันธุ์ โรงเรียน เพราะในปี พ.ศ.2479 Mr. K. Wong ต้องเลิกล้มกิจการเหมืองแร่และเดินทางกลับไปอยู่ที่เมืองปีนังภูมิลำเนาเดิม จึงขายที่ดินดังกล่าวพร้อมด้วยบ้านพักให้แก่กระทรวงธรรมการ (กระทรวงศึกษาธิการ) แผนกธรรมการ อำเภอบ้านนา (อำเภอบ้านนาสาร) ทางราชการจึงปรับปรุงบ้านพักใช้เป็นอาคารเรียน และย้ายโรงเรียนนาสารซึ่งขณะนั้นตั้งอยู่ที่วัดนาสารมาอยู่อาคารดังกล่าว เมื่อวันที่ 17 พฤศจิการยน พ.ศ.2479 แต่เงาะพันธุ์โรงเรียนในขณะนั้นยังมิได้แพร่หลายแต่ประการใด เนื่องจากการส่งเสริมทางการเกษตรยังไม่ดีพอ ในปี พ.ศ.2489-2498 มีบุคคลตอนกิ่งไปขายพันธุ์เพียง 3-4 รายเท่านั้น
ครั้นถึงปี พ.ศ.2500-2501 ได้มีกรรมวิธีแพร่พันธุ์เกิดขึ้นอีกอย่างหนึ่ง คือการทาบกิ่ง มีการทาบกิ่งเงาะต้นนี้ไปเป็นจำนวนมาก ในระยะเดียวกันนั้น เงาะที่มาจากจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส คือเงาะพันธุ์ยาวี เจ๊ะโมง เปเราะ ก็เข้ามาแพร่หลายพอสมควร ประชาชนเห็นว่าเงาะต้นนี้ยังไม่มีชื่อ จึงชักชวนกันเรียกเงาะต้นนี้ว่า "เงาะพันธุ์โรงเรียน" เพราะต้นแม่พันธุ์อยู่ที่โรงเรียนนาสาร
ปี พ.ศ.2512 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จฯมาที่จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้นำชาวสวนเงาะผู้หนึ่งได้ทูลเกล้าฯถวายเงาะพันธุ์โรงเรียน และขอให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานชื่อพันธุ์เงาะนี้เสียใหม่ พระองค์ทรงมีพระราชดำรัสว่า "ชื่อเงาะพันธุ์โรงเรียนดีอยู่แล้ว" นับแต่นั้นมา ไม่มีใครกล้าที่จะเปลี่ยนชื่อเงาะพันธุ์นี้อีกต่อไป
ชนิดของหนังสือเดินทางประเทศไทย
ชนิดของหนังสือเดินทางประเทศไทย
หนังสือเดินทางประเทศไทย เริ่มจากบนซ้ายตามเข็มนาฬิกา ประเภทธรรมดา ทาง ราชการ ทางการทูต และเดินทางชั่วคราว
หนังสือเดินทางประเทศไทยในปัจจุบันมี 4 ประเภท ดังนี้
หนังสือเดินทางธรรมดา (หน้าปกสีแดงเลือดหมู)
ออกให้สำหรับประชาชนทั่วไป หนังสือเดินทางมีอายุไม่เกิน 5 ปี
หนังสือเดินทางราชการ (หน้าปกสีน้ำเงินเข้ม)
หนังสือ เดินทางมีอายุไม่เกิน 5 ปี ผู้ถือต้องใช้ในราชการเท่านั้น ไม่สามารถนำไปใช้ในการเดินทางส่วนตัว โดยมีข้อกำหนดออกเฉพาะข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่จัดตั้งตามรัฐธรรมนูญ สมาชิกรัฐสภาซึ่งเดินทางไปราชการในต่างประเทศ และบุคคลอื่นใดที่เดินทางเพื่อทำประโยชน์แก่ทางราชการตามที่กระทรวงการต่าง ประเทศอนุมัติ
หนังสือเดินทางทูต (หน้าปกสีแดงสด)
ประเภทนี้จะมีอายุไม่เกิน 5 ปี ไม่สามารถต่ออายุเพิ่มได้ มีข้อกำหนดออกให้เฉพาะบุคคลดังต่อไปนี้
1. พระบรมวงศ์และพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2. พระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าและคู่สมรส
3. พระราชวงศ์และบุคคลสำคัญที่ราชเลขาธิการขอไปเป็นกรณีพิเศษ
4. ประธานองคมนตรี และองคมนตรี
5. นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี
6. ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา
7. ประธานศาลฎีกา รองประธานศาลฎีกา และประธานศาลอุทธรณ์
8. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และประธานศาลปกครองสูงสุด
9. อดีตนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ
10. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ผู้บัญชาการเหล่าทัพ
11. ข้าราชการที่มีตำแหน่งทางการทูต ซึ่งเดินทางไปราชการในต่างประเทศ
12. ข้าราชการที่มีตำแหน่งทางการทูต ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจำอยู่ ณ ส่วนราชการในต่างประเทศ คู่สมรส และบุตรในประเทศที่ประจำอยู่หรือทำการศึกษาอยู่ในประเทศอื่น แต่บุตรจะต้องอายุไม่เกิน 25 ปี
13. คู่สมรสที่ร่วมเดินทางไปกับบุคคลดังกล่าวในข้อ 2-8
14. บุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการหรือภายใต้พันธกรณีระหว่างประเทศ หรือภายใต้สถานการณ์พิเศษที่มีความจำเป็น หรือเผยแพร่ชื่อเสียงเกียรติคุณของประเทศไทย
หนังสือเดินทางชั่วคราว (หน้าปกสีเขียว)
นอกจากนี้ ยังมีอีก 2 ประเภทพิเศษ คือ
หนังสือเดินทางพระ
ออกให้สำหรับพระภิกษุและสามเณรที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปต่างประเทศตามนัยระเบียบมหาเถรสมาคม
หนังสือเดินทางเพื่อไปประกอบพิธีฮัจญ์
ออกให้ชาวมุสลิมที่เพื่อเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ หนังสือเดินทางประเภทนี้จะมีอายุ 2 ปีเท่านั้น
หนังสือเดินทางประเทศไทย เริ่มจากบนซ้ายตามเข็มนาฬิกา ประเภทธรรมดา ทาง ราชการ ทางการทูต และเดินทางชั่วคราว
หนังสือเดินทางประเทศไทยในปัจจุบันมี 4 ประเภท ดังนี้
หนังสือเดินทางธรรมดา (หน้าปกสีแดงเลือดหมู)
ออกให้สำหรับประชาชนทั่วไป หนังสือเดินทางมีอายุไม่เกิน 5 ปี
หนังสือเดินทางราชการ (หน้าปกสีน้ำเงินเข้ม)
หนังสือ เดินทางมีอายุไม่เกิน 5 ปี ผู้ถือต้องใช้ในราชการเท่านั้น ไม่สามารถนำไปใช้ในการเดินทางส่วนตัว โดยมีข้อกำหนดออกเฉพาะข้าราชการ เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่จัดตั้งตามรัฐธรรมนูญ สมาชิกรัฐสภาซึ่งเดินทางไปราชการในต่างประเทศ และบุคคลอื่นใดที่เดินทางเพื่อทำประโยชน์แก่ทางราชการตามที่กระทรวงการต่าง ประเทศอนุมัติ
หนังสือเดินทางทูต (หน้าปกสีแดงสด)
ประเภทนี้จะมีอายุไม่เกิน 5 ปี ไม่สามารถต่ออายุเพิ่มได้ มีข้อกำหนดออกให้เฉพาะบุคคลดังต่อไปนี้
1. พระบรมวงศ์และพระนัดดาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2. พระอนุวงศ์ชั้นพระองค์เจ้าและคู่สมรส
3. พระราชวงศ์และบุคคลสำคัญที่ราชเลขาธิการขอไปเป็นกรณีพิเศษ
4. ประธานองคมนตรี และองคมนตรี
5. นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี
6. ประธานและรองประธานสภาผู้แทนราษฎร ประธานและรองประธานวุฒิสภา
7. ประธานศาลฎีกา รองประธานศาลฎีกา และประธานศาลอุทธรณ์
8. ประธานศาลรัฐธรรมนูญ และประธานศาลปกครองสูงสุด
9. อดีตนายกรัฐมนตรี และอดีตรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศ
10. ผู้บัญชาการทหารสูงสุด และ ผู้บัญชาการเหล่าทัพ
11. ข้าราชการที่มีตำแหน่งทางการทูต ซึ่งเดินทางไปราชการในต่างประเทศ
12. ข้าราชการที่มีตำแหน่งทางการทูต ซึ่งปฏิบัติหน้าที่ประจำอยู่ ณ ส่วนราชการในต่างประเทศ คู่สมรส และบุตรในประเทศที่ประจำอยู่หรือทำการศึกษาอยู่ในประเทศอื่น แต่บุตรจะต้องอายุไม่เกิน 25 ปี
13. คู่สมรสที่ร่วมเดินทางไปกับบุคคลดังกล่าวในข้อ 2-8
14. บุคคลอื่นใดเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการหรือภายใต้พันธกรณีระหว่างประเทศ หรือภายใต้สถานการณ์พิเศษที่มีความจำเป็น หรือเผยแพร่ชื่อเสียงเกียรติคุณของประเทศไทย
หนังสือเดินทางชั่วคราว (หน้าปกสีเขียว)
นอกจากนี้ ยังมีอีก 2 ประเภทพิเศษ คือ
หนังสือเดินทางพระ
ออกให้สำหรับพระภิกษุและสามเณรที่ได้รับอนุญาตให้เดินทางไปต่างประเทศตามนัยระเบียบมหาเถรสมาคม
หนังสือเดินทางเพื่อไปประกอบพิธีฮัจญ์
ออกให้ชาวมุสลิมที่เพื่อเดินทางไปประกอบพิธีฮัจญ์ หนังสือเดินทางประเภทนี้จะมีอายุ 2 ปีเท่านั้น
วันพุธที่ 14 มีนาคม พ.ศ. 2555
วันไวท์เดย์
ในประเทศญี่ปุ่นในวันวาเลนไทน์เป็นที่สังเกตโดยหญิงที่นำเสนอช็อคโกแลตของขวัญ (ทั้งร้านที่ซื้อหรือทำด้วยมือ), มักจะชายตามข้อผูกพันการแสดงออกของความรักความสุภาพหรือสังคม ช็อคโกแลตที่ทำด้วยมือมักจะเป็นที่ต้องการโดยรับเพราะมันเป็นสัญญาณว่าชายที่ได้รับเป็นของผู้หญิง "คนเดียว" ในวันสีขาว, Converse ที่เกิดขึ้น: เพศผู้ที่ได้รับhonmei-Choco ( 本命チョコ? "ช็อคโกแลตของความรัก")หรืออีหนู-Choco ( 義理チョコ?"ช็อคโกแลตมารยาท")ในวันวาเลนไทน์ที่คาดว่าจะกลับชอบโดย การให้ของขวัญ ตามธรรมเนียมที่นิยมของขวัญวันไวท์เดย์เป็นคุกกี้ , เพชรพลอย , ช็อคโกแลตสีขาว , สีขาวชุดชั้นในและmarshmallows . [ 1 ]ในบางครั้งระยะsanbai gaeshi ( 三倍返し?ตัวอักษร "สามคืน")ที่ใช้เพื่ออธิบายกฎท่องกันโดยทั่วไปว่า ของขวัญตอบแทนที่ควรจะเป็นสองถึงสามครั้งค่าใช้จ่ายของของขวัญวาเลนไทน์
วันช้างไทย
วันช้างไทย ริเริ่มจากคณะอนุกรรมการประสานงานการอนุรักษ์ช้างไทย ซึ่งเป็นหน่วยงานประสานงาน องค์การภาครัฐและเอกชนที่ทำงานเกี่ยวกับการอนุรักษ์ช้างไทยคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี เนื่องจากเล็งเห็นว่าหากมีการสถาปนาวันช้างไทยขึ้น จะช่วยให้ประชาชนคนไทย หันมาสนใจช้าง รักช้าง หวงแหนช้าง ตลอดจนให้ความสำคัญต่อการให้ความช่วยเหลืออนุรักษ์ช้างมากขึ้น
คณะอนุกรรมการฯ จึงได้พิจารณาหาวันที่เหมาะสม ซึ่งครั้งแรกได้พิจารณาเอาวันที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทำยุทธหัตถี มีชัยชนะเหนือพระมหาอุปราชา แต่วันดังกล่าวถูกใช้เป็นวันกองทัพไทยไปแล้ว จึงได้พิจารณาวันอื่น และเห็นว่าวันที่ 13 มีนาคม ซึ่งเป็นวันที่คณะกรรมการคัดเลือกสัตว์ประจำชาติ มีมติให้ช้างเผือกเป็นสัญลักษณ์ของประเทศไทยนั้นมีความเหมาะสม จึงได้นำเสนอมติตามลำดับขั้นเข้าสู่คณะรัฐมนตรี โดยได้รับการสนับสนุนจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์อีกทางหนึ่ง ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อ 26 พฤษภาคม พ.ศ. 2541 เห็นชอบให้ วันที่ 13 มีนาคม ของทุกปี เป็น วันช้างไทย และได้ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรีลงในราชกิจจานุเบกษา เมื่อ 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2541
ผลจากการที่ประเทศไทยมีวันช้างไทยเกิดขึ้น นับเป็นการยกย่องให้เกียรติว่าเป็นสัตว์ที่มีความสำคัญอีกครั้ง นอกเหนือจากเกียรติที่ช้างเคยได้รับในอดีต ไม่ว่าจะเป็นช้างเผือกในธงชาติ หรือช้างเผือกที่เป็นสัญลักษณ์ของประเทศ หรือสัตว์คู่พระบารมีของพระมหากษัตริย์ไทย
วันจันทร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2555
ปลานิล
ปลานิลสามารถอาศัยอยู่ได้ในน้ำจืดและน้ำกร่อย มีถิ่นกำเนิดเดิมอยู่ที่ทวีปแอฟริกา พบทั่วไปตามหนอง บึง และทะเลสาบในประเทศซูดาน, ยูกันดา และทะเลสาบแทนกันยีกา ปลานิลเข้าสู่ประเทศไทยครั้งแรกโดยสมเด็จพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศมกุฎราชกุมารแห่งประเทศญี่ปุ่น ซึ่งทรงจัดส่งเข้ามาทูลเกล้าถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2508 จำนวน 50 ตัว ครั้งนั้นได้โปรดเกล้าฯ ให้ทดลองเลี้ยงปลานิลในบ่อภายในสวนจิตรลดา เป็นหนึ่งโครงการในโครงการส่วนพระองค์ สวนจิตรลดา
ผลการทดลองปรากฏว่าปลานิลที่ทรงโปรดเกล้าให้ทดลองเลี้ยงได้เจริญเติบโตและแพร่ขยายพันธุ์ได้เป็นอย่างดี ต่อมาจึงได้พระราชทานชื่อว่า ปลานิล (โดยมีที่มาจากชื่อแม่น้ำไนล์ (Nile) ที่เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยดั้งเดิม หรือชื่อวิทยาศาสตร์ Tilapia nilotica) และพระราชทานพันธุ์ปลาดังกล่าวให้กับกรมประมงจำนวนหนึ่ง เมื่อวันที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2509 เพื่อนำไปขยายพันธุ์และแจกจ่ายแก่พสกนิกร และปล่อยลงไว้ตามแหล่งน้ำต่าง ๆ ตามที่เห็นว่าเหมาะสม เนื่องจากปลานิลมีคุณลักษณะพิเศษหลายอย่าง เช่น กินอาหารได้ทุกชนิด เช่น ไรน้ำ ตะไคร่น้ำ ตัวอ่อนของแมลงและสัตว์น้ำเล็ก ๆ มีขนาดลำตัวใหญ่ ความยาวประมาณ 10-30 เซนติเมตร แพร่ขยายพันธุ์ง่าย และมีรสชาติดี
ในปัจจุบันพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวยังโปรดเกล้าฯ ให้ทดลองเลี้ยงและแพร่ขยายพันธุ์ปลานิลในบ่อสวนจิตรลดาต่อไป ในทางวิชาการเรียกสายพันธุ์ปลานิลดังกล่าวว่า ปลานิลจิตรลดา ซึ่งยังคงเป็นปลานิลสายพันธุ์แท้ที่ประเทศไทยได้รับทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จากพระจักรพรรดิอะกิฮิโตะ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)