วันอังคารที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ค้นพบชั้นใต้ดินดาวอังคารรองรับจุลชีพได้


        นักวิทยาศาสตร์ชาวออสเตรเลียเผย พื้นที่ในชั้นใต้ดินส่วนใหญ่ของดาวอังคารรองรับสิ่งมีชีวิตประเภทจุลชีพได้ หลังศึกษาวิจัยด้วยการเชื่อมโยงข้อมูลเปรียบเทียบกับระบบนิเวศน์โลก

          ชาร์ลีย์ ไลน์วีฟเวอร์ และคณะนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย จัดทำการศึกษาเปรียบเทียบตัวแบบอุณหภูมิและแรงกดอากาศบนโลกกับดาวอังคาร เพื่อชี้วัดความแตกต่างและความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่บนดาวอังคาร ซึ่งถูกตีพิมพ์ลงในนิตยาสาร "Astrobiology" ในวันจันทร์
          หลังจากที่มีการค้นพบน้ำแข็งในบริเวณขั้วโลกของดาวอังคาร งานวิจัยชิ้นนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาว่า บริเวณใดของดาวอังคารที่สามารถรักษาปริมาณน้ำได้มากพอ จนเอื้อต่อการใช้ชีวิตของสิ่งมีชีวิตประเภทจุลชีพคล้ายคลึงกับที่พบบนโลก โดยนำเอาข้อมูลที่เคยมีการเก็บมาทั้งหมดในระยะเวลากว่า 10 ปีมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกัน แตกต่างจากงานวิจัยก่อนหน้านี้ที่นิยมศึกษาเป็นพื้นที่ ๆ ไป

          รายงานชี้ว่า หากเปรียบเทียบสัดส่วนพื้นที่ที่สิ่งมีชีวิตสามารถอาศัยอยู่ได้ โดยนับตั้งแต่แกนกลางของโลกไปจนถึงชั้นบรรยากาศส่วนบน โลกมีพื้นที่ที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เพียง 1% เท่านั้น ในขณะที่ดาวอังคารมีพื้นที่ที่สิ่งมีชีวิตสามารถอาศัยอยู่ได้ถึง 3% เพียงแต่ส่วนใหญ่ต้องอาศัยอยู่ชั้นใต้ดิน

          ชั้นบรรยากาศของดาวอังคารที่มีความกดดันต่ำ ทำให้น้ำไม่สามารถรักษาสถานะของเหลวบนผิวดาวและระเหยในทันที ทว่า ไลน์วีฟเวอร์กล่าวว่า ชั้นใต้ผิวดินของดาวอังคารมีแรงกดดันที่เพียงพอต่อการคงสถานะของเหลวของน้ำเอาไว้

          นอกจากนี้ แม้อุณหภูมิพื้นผิวดาวอังคารจะอยู่ที่ -63 องศาเซลเซียส แต่ใต้ผิวดินมีความอบอุ่นเพียงพอต่อการอาศัยอยู่ของจุลชีพ เนื่องจากได้รับความร้อนที่แผ่กระจายมาจากแกนกลางของดาว



          ไลน์วีฟเวอร์ยืนยันว่า งานวิจัยของเขาเป็นการศึกษาถึงความเป็นไปได้ที่จะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่บนดาวอังคารที่ละเอียดที่สุดในปัจจุบัน และนับว่ามีความสำคัญมาก เพราะมนุษย์ก็วิวัฒนาการมาจากจุลชีพเช่นกัน

วันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ประวัติศาสตร์แห่ง Swatch

         
ประวัติศาสตร์แห่ง Swatch




 Swatch ฝ่าฝันวิกฤติและนำพาอุตสาหกรรมนาฬิกาของสวิสเซอร์แลนด์ให้อยู่รอด 
ในกลางยุค 70 อุตสาหกรรมนาฬิกาของสวิสเซอร์แลนด์ ได้ประสบวิกฤติอย่างรุนแรงอย่างที่เคยไม่มีมาก่อน กล่าวทางเทคโนโลยีคือ ญี่ปุ่นได้เข้ามาอยู่เหนือกว่าในการแข่งขันทางการค้า ในปี 1979 เมื่อได้ญี่ปุ่นได้ออก "Delirium," นาฬิกาข้อมือบางที่สุดในโลกด้วยชิ้นส่วนที่น้อยลง แต่เหตุการณ์ที่ปรับโชคชะตาของอุตสาหกรรมกลับสู่สภาวะที่ดีขึ้น นั่นคือ การก่อตั้ง SMH บริษัทสวิสเพื่ออุตสาหกรรมไมโครอิเล็กโทรนิกส์ และการผลิตนาฬิกา และคำตอบของการแก้วิกฤติ คือนาฬิกา Swatch นาฬิกาพลาสติกแบบบาง ประกอบด้วยชิ้นส่วนเพียง 51 ชิ้น (แทนที่ชิ้นส่วนปกติ 91 ชิ้น หรือมากกว่า) ที่ให้ทั้งคุณภาพสูงพร้อมกับราคาอันย่อมเยา เริ่มออกสู่ตลาดครั้งแรกเมื่อปี 1983 ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา ได้กลายเป็นนาฬิกาข้อมือที่ประสบความสำเร็จตลอดกาล และบริษัทแม่ The Swatch Group ถือเป็นบริษัทนาฬิกาที่ใหญ่ที่สุดในโลก และไม่เคยหยุดนิ่ง

                  เป็นระยะเวลาหลายปีแล้วที่วิวัฒนาการนาฬิกาใหม่ๆ ได้เข้ามามีบทบาทพร้อมไปกับนาฬิกา Swatch พลาสติกรุ่นมาตรฐาน ตั้งแต่ Irony (Swatch รุ่นที่เป็นโลหะ) ไปจนถึงถึง Swatch SKIN Chrono (นาฬิกาแบบโครโนกราฟที่บางที่สุดในโลก) ไปจนกระทั่ง Swatch Snowpass (นาฬิกาที่มีฟังก์ชั่นการใช้งานข้างใน ซึ่งสามารถนำมาใช้เป็นบัตรผ่านเข้าเล่นสกีได้ในหลายรีสอร์ททั่วโลก) และ Swatch Beat (นาฬิกาที่แสดงเวลาอินเทอร์เน็ต)
ความสามารถทางเทคนิคที่โดดเด่นและก้าวล้ำในสาขาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่ได้รับการพิสูจน์แล้วจาก Swatch ในฐานะผู้จับเวลาอย่างเป็นทางการของโอลิมปิก และการแข่งขันสกีและสโนว์บอร์ดระดับโลก

วันอาทิตย์ที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

ความหมายของต้นไม้เลา

        เลา จัดได้ว่า เป็น หนึ่งใน ต้นไม้ ที่ ปัจจุบันนี้ กำลังอยู่ในภาวะใกล้สูญพันธ์ เป็นอย่างมาก เนื่องจาก เดิมทีนั้น ต้นเลา เป็น ต้นไม้ ที่ขึ้น ตาม พื้นที่ป่า กระจัดกระจาย ตามภาค ต่างๆ ของประเทศไทย แต่ปัจจุบัน เนื่องจากปัญหา การบุกรุกพื้นที่ และ การทำลายป่าไม้ ที่ ทวีความรุนแรง ขึ้นทุกขณะ ทำให้ ต้น เลา ได้รับผลกระทบ ไปด้วย โดนตรง
ลักษณะของต้น เลา เป็น
หญ้าอายุหลายปี ลำต้นกลวง แข็งตั้งขึ้นสูง 1-2 เมตร บริเวณข้อมีตาราก 2 แถวกาบใบผิวเกลี้ยงมีขนที่ขอบ ใบ รูปขอบขนานแคบ กว้าง 0.5-1.58 ซม. ยาว 60-100 ซม.ขอบใบมีขนสากมือ ลิ้นใบเป็นแผ่นแข็งปลายโค้ง ดอก ออกเป็นช่อแตก แขนงกว้าง สีขาวแกมเทา ช่อดอกย่อยรูปไข่หรือรูปหอก ยาว 3-4 ซม. กาบช่อย่อยรูปเรือ เนื้อบางผิวเกลี้ยงขอบมีขนอ่อนนุ่มคล้ายไหมกาบเป็นขนบาง ขอบบนมีขน กลีบเกล็ดรูปกรวย รังไข่รูปกระสวย ยอดเกสรสีม่วงหรือชมพูอับเรณูสีเหลือง จำนวนสามอัน
ถิ่นกำเนิด และ พื้นที่ที่พบ ต้น เลา คือ เอเชียตะวันออก อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้พบกระจายเป็นกลุ่มใหญ่ในพื้นที่ชุ่มน้ำ ออกเดือนกันยายน-ธันวาคม
เลา มีชื่อวงศ์ คือ POACEAE (GRAMNEAE)
เลา มีชื่อเรียกอื่นๆ ว่า
แขมดอกขาว
           แม่น้ำท่าจีน เป็นแม่น้ำที่แยกตัวออกจากแม่น้ำเจ้าพระยาที่ตำบลท่าซุง อำเภอเมือง
จังหวัดอุทัยธานี กับตำบลหาดท่าเสา อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท แม่น้ำท่าจีน
มีชื่อเรียกหลายชื่อ ดังนี้ ตอนที่ไหลผ่านจังหวัดชัยนาทเรียกว่า "แม่น้ำมะขามเฒ่า"
ตอนที่ผ่านจังหวัดสุพรรณบุรี เรียกว่า "แม่น้ำสุพรรณบุรี" ตอนที่ผ่านจังหวัดนครปฐมเรียกว่า
"แม่น้ำนครชัยศรี" ส่วนตอนที่ไหลผ่านจังหวัดสมุทรสาครและไหลลงสู่อ่าวไทยเรียกว่า
"แม่น้ำท่าจีน" แม่น้ำสายนี้มีความยาวประมาณ 315 กิโลเมตร

วันพุธที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

Jeux d'Asie du Sud-Est

Les Jeux d'Asie du Sud-Est (en anglais, Southeast Asian Games ou SEA Games) sont une compétition multisports organisée tous les deux ans en Asie du Sud-Est. 11 pays prennent part à cette compétition.
Les jeux sont organisés par la Fédération des Jeux d'Asie du Sud-Est et supervisés par le Comité international olympique et le Conseil Olympique d'Asie.
  
Histoire
 Les Jeux d'Asie du Sud-Est tirent leur origine des Jeux de l'Asie du Sud-Est péninsulaire (Southeast Asian Peninsular Games ou SEAP Games en anglais). Le 22 mai 1958, les délégations des pays du sud-est asiatique participants à la 3e édition des Jeux asiatiques se rencontrent et décident d'établir une organisation sportive. Les jeux péninsulaires ont été imaginés par Laung Sukhumnaipradit, vice-président du Comité national olympique thaïlandais. Les Jeux doivent être un événement sportif qui permettra de promouvoir la coopération, l'entente et les relations entre les pays de la région.
La Thaïlande, la Birmanie, le Cambodge, le Sud-Vietnam, le Laos et la Malaisie sont les pays fondateurs. Ces pays acceptent d'organiser la compétition tous les deux ans : la Fédération des Jeux de l'Asie du Sud-Est péninsulaire est née.
La première édition se déroule à Bangkok, en Thaïlande, du 12 au 17 décembre 1959. 527 athlètes et officiels participent à 12 sports. Parmi les six pays fondateurs seul le Cambodge ne participe pas. Singapour est en revanche représenté.
Les sept pays membres de la Fédération des Jeux de l'Asie du Sud-Est péninsulaire participent tous les deux ans à la compétition jusqu'en 1975. Seule exception : l'annulation de l'épreuve en 1963. Initialement prévu au Cambodge, l'événement ne peut pas être organisé par le royaume khmer en raison de problèmes politiques.
En 1975, au cours de la 8e édition des Jeux, la Fédération étudie l'entrée des Philippines et de l'Indonésie. Ces deux pays sont officiellement admis en 1977, ainsi que Brunei, qui est alors encore une colonie britannique. La Fédération est alors renommée Fédération des Jeux d'Asie du Sud-Est et les Jeux deviennent les Jeux d'Asie du Sud-Est. Par la suite, la liste des pays participants s'élargit encore en 2003 avec l'arrivée du Timor oriental, indépendant depuis 2002.

Liste des éditions

Année No Ville hôte1 Pays Pays participants
1959 1 Bangkok (1) Drapeau de Thaïlande Thaïlande (1) 6
1961 2 Rangoon (1) Drapeau de Birmanie Birmanie (1) 7
1965 3 Kuala Lumpur (1) Drapeau de Malaisie Malaisie (1) 6
1967 4 Bangkok (2) Drapeau de Thaïlande Thaïlande (2) 6
1969 5 Rangoon (2) Drapeau de Birmanie Birmanie (2) 6
1971 6 Kuala Lumpur (2) Drapeau de Malaisie Malaisie (2) 7
1973 7 Singapour (1) Drapeau de Singapour Singapour (1) 7
1975 8 Bangkok (3) Drapeau de Thaïlande Thaïlande (3) 4
1977 9 Kuala Lumpur (3) Drapeau de Malaisie Malaisie (3) 7
1979 10 Jakarta (1) Drapeau d'Indonésie Indonésie (1) 7
1981 11 Manille (1) Drapeau des Philippines Philippines (1) 7
1983 12 Singapour (2) Drapeau de Singapour Singapour (2) 8
1985 13 Bangkok (4) Drapeau de Thaïlande Thaïlande (4) 8
1987 14 Jakarta (2) Drapeau d'Indonésie Indonésie (2) 8
1989 15 Kuala Lumpur (4) Drapeau de Malaisie Malaisie (4) 9
1991 16 Manille (2) Drapeau des Philippines Philippines (2) 9
1993 17 Singapour (3) Drapeau de Singapour Singapour (3) 8
1995 18 Chiang Mai (1) Drapeau de Thaïlande Thaïlande (5) 10
1997 19 Jakarta (3) Drapeau d'Indonésie Indonésie (3) 10
1999 20 Bandar Seri Begawan (1) Drapeau de Brunei Brunei (1) 10
2001 21 Kuala Lumpur (5) Drapeau de Malaisie Malaisie (5) 10
2003 22 Hanoï (1)
Ho Chi Minh City (1)
Drapeau du Viêt Nam Viêt Nam (1) 11
2005 23 Manille (3) Drapeau des Philippines Philippines (3) 11
2007 24 Nakhon Ratchasima (1) Drapeau de Thaïlande Thaïlande (6) 11
2009 25 Vientiane (1) Drapeau du Laos Laos (1) 11
2011 26 Jakarta (4)
Palembang (1)
Drapeau d'Indonésie Indonésie (4) 11
2013 27 Naypyidaw (1) Drapeau de Birmanie Birmanie (3) -

วันเสาร์ที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2554

Earthquake


 










An earthquake (also known as a quake, tremor or temblor) is the result of a sudden release of energy in the Earth's crust that creates seismic waves. The seismicity or seismic activity of an area refers to the frequency, type and size of earthquakes experienced over a period of time. Earthquakes are measured using observations from seismometers. The moment magnitude is the most common scale on which earthquakes larger than approximately 5 are reported for the entire globe. The more numerous earthquakes smaller than magnitude 5 reported by national seismological observatories are measured mostly on the local magnitude scale, also referred to as the Richter scale. These two scales are numerically similar over their range of validity. Magnitude 3 or lower earthquakes are mostly almost imperceptible and magnitude 7 and over potentially cause serious damage over large areas, depending on their depth. The largest earthquakes in historic times have been of magnitude slightly over 9, although there is no limit to the possible magnitude. The most recent large earthquake of magnitude 9.0 or larger was a 9.0 magnitude earthquake in Japan in 2011 (as of March 2011), and it was the largest Japanese earthquake since records began. Intensity of shaking is measured on the modified Mercalli scale. The shallower an earthquake, the more damage to structures it causes, all else being equal.
At the Earth's surface, earthquakes manifest themselves by shaking and sometimes displacement of the ground. When the epicenter of a large earthquake is located offshore, the seabed may be displaced sufficiently to cause a tsunami. Earthquakes can also trigger landslides, and occasionally volcanic activity.
In its most general sense, the word earthquake is used to describe any seismic event — whether natural or caused by humans — that generates seismic waves. Earthquakes are caused mostly by rupture of geological faults, but also by other events such as volcanic activity, landslides, mine blasts, and nuclear tests. An earthquake's point of initial rupture is called its focus or hypocenter. The epicenter is the point at ground level directly above the hypocenter.

 

Major earthquakes



One of the most devastating earthquakes in recorded history occurred on 23 January 1556 in the Shaanxi province, China, killing more than 830,000 people (see 1556 Shaanxi earthquake). Most of the population in the area at the time lived in yaodongs, artificial caves in loess cliffs, many of which collapsed during the catastrophe with great loss of life. The 1976 Tangshan earthquake, with death toll estimated to be between 240,000 to 655,000, is believed to be the largest earthquake of the 20th century by death toll.
The largest earthquake that has been measured on a seismograph reached 9.5 magnitude, occurring on 22 May 1960. Its epicenter was near Cañete, Chile. The energy released was approximately twice that of the next most powerful earthquake, the Good Friday Earthquake, which was centered in Prince William Sound, Alaska. The ten largest recorded earthquakes have all been megathrust earthquakes; however, of these ten, only the 2004 Indian Ocean earthquake is simultaneously one of the deadliest earthquakes in history.
Earthquakes that caused the greatest loss of life, while powerful, were deadly because of their proximity to either heavily populated areas or the ocean, where earthquakes often create tsunamis that can devastate communities thousands of kilometers away. Regions most at risk for great loss of life include those where earthquakes are relatively rare but powerful, and poor regions with lax, unenforced, or nonexistent seismic building codes.